การอยู่ร่วมกันในสังคมชีวิตวิถีใหม่ของชุมชนพหุวัฒนธรรมริมฝั่งแม่น้ำจันทบูร อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี
- พระครูสมุห์ชินวรวัตร ถิรภทฺโท, ดร. และ ดร.ศุภกิจ ภักดีแสน
- พ.ศ. 2563
- งานวิจัย
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาวิถีชีวิตและอัตลักษณ์ของชุมชนพหุวัฒนธรรมริมฝั่งแม่น้้าจันทบูร 2) เพื่อศึกษาการอยู่ร่วมกันในสังคมชีวิตวิถีใหม่ของชุมชนพหุวัฒนธรรมริมฝั่งแม่น้้าจันทบูร และ(3) เพื่อวิเคราะห์แนวทางในการอยู่ร่วมกันในสังคมชีวิตวิถีใหม่ของชุมชนพหุวัฒนธรรมริมฝั่งแม่น้้าจันทบูร อ้าเภอเมือง จังหวัดจันทบุรีระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพก้าหนดผู้ให้ข้อมูลหลัก จ้านวน13 คน เลือกแบบเจาะจงเครื่องมือเก็บข้อมูล ได้แก่ แบบสัมภาษณ์เชิงลึกที่มีโครงสร้าง และการสนทนากลุ่มเฉพาะ จากผู้ร่วมสนทนากลุ่มจ้านวน 11 คน เลือกแบบเจาะจง เก็บข้อมูลด้วยการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการพรรณนาความผลการวิจัยพบว่าวิถีชีวิตและอัตลักษณ์ของชุมชนพหุวัฒนธรรมริมฝั่งแม่น้้าจันทบูร อ้าเภอเมือง จังหวัดจันทบุรีพบว่า ชุมชนริมน้้าก็จะเป็นกลุ่มคนที่อยู่ระหว่างชาวคริสต์กับชาวพุทธเป็นชุมชนดั้งเดิมของคนหลายเชื้อชาติ เช่น ไทยญวณ ไทยพุทธ และเป็นชุมชนเก่าแก่ซึ่งสมัยก่อนเป็นท่าเรือ เป็นเส้นทางการค้าที่ส้าคัญมี 2 1อาจารย์ ดร., หน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ พุทธมณฑลจังหวัดจันทบุรี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 2อาจารย์ ดร., หน่วยวิทยบริการคณะสังคมศาสตร์ พุทธมณฑลจังหวัดจันทบุรี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
402|Journal of MCU Ubon Review, Vol.7 No.1 (January-April 2022)ศาสนา 3 วัฒนธรรมๆคือ วัฒนธรรมไทย, วัฒนธรรมจีน, และวัฒนธรรมญวนอาชีพหลัก คือ“ค้าขาย”วิถีชีวิตดั้งเดิม สมัยก่อนก็เป็นการทอสื่อ เกิดจากที่นี่ เป็นชุมชนเก่าแก่ริมแม่น้้าจันทบุรี เป็นชุมชนที่คนจีน คนญวน คนไทย มาอยู่ด้วยกัน มาท้าการค้าขายกันในชุมชนมาแลกเปลี่ยนสินค้า เอามาแลกเปลี่ยนและเป็น“ถนนสายแรก”เป็นถนนสายที่มีความรุ่งเรืองมากที่สุดอัตลักษณ์คือ“ลายฉลุบ้าน”ที่ยังหลงเหลืออยู่ ค้าส้าคัญ:การอยู่ร่วมกันในสังคม,ชีวิตวิถีใหม่, ชุมชนพหุวัฒนธรรมริมฝั่งแม่น้้าจันทบูร